วันอังคารที่ 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

คำสั่งตรวจสอบเครือข่าย

คำสั่งพื้นฐานในการตรวจสอบระบบเครือข่าย 
การเข้าใช้งาน Command Line
Start > Run...> cmd [enter] > Demo

คำสั่งทดสอบการเชื่อมต่อไปยังเครื่องปลายทาง
ping pc1 [enter] ทดสอบ computer name
ping 192.168.0.15 [enter] ทดสอบโดยใช้หมายเลขไอพีเครื่องที่ต้องการ
ping www.yahoo.com [enter] ทดสอบเว็บไซต์ภายนอก > Demo
ping www.yahoo.com -t [enter] ทดสอบเว็บไซต์ภายนอกแบบต่อเนื่อง > Demo
pathping 192.168.0.15 [enter] ตรวจสอบระยะห่างของเครื่องคอมพิวเตอร์ปลายทาง > Demo

ตรวจสอบรายละเอียดเครื่องคอมฯ ออนไลน์
net   view  [enter] ตรวจสอบ computer name ใน workgroup เดียวกัน > Demo
net  view /domain [enter] ตรวจสอบรายชื่อโดเมนในระบบเครือข่าย > Demo
ืnet   view /domain:PHP [enter] ตรวจสอบรายชื่อ computer name ในโดเมน PHP > Demo
net   share [enter] ดูไฟล์ในเครื่องที่แชร์อยู่ > Demo
net   session [enter] ตรวจสอบผู้ใช้ที่เข้าใช้งานเครื่องเรา > Demo
net   help [enter] แสดงออปชั่นย่อยภายในคำ net > Demo
net  help time [enter] แสดงวิธีการเรียกใช้งานคำสั่งย่อย > Demo

ตรวจสอบสถิติการใช้งาน
netstat -n [enter] ตรวจสอบสถิติไอพี/บริการ ที่เราใช้งานอยู่ > Demo
netstat -an [enter] ตรวจสอบสถิติทั้งโปรโตคอล TCP และ UDP > Demo
netstat -s -p tcp [enter] ตรวจสอบ Retransmission บน TCP/IP > Demo

ตรวจสอบรายละเอียด IP Address / Hostname
ipconfig > ตรวจสอบ ip address / subnet mask / gateway > Demo
ipconfig /all > ตรวจสอบ ip address / subnet mask / gateway / dns > Demo
ipconfig /displaydns > ตรวจสอบ DNS > Demo 

nbtstat -A 192.168.3.148 [enter] ดูตารางชื่อเครื่องและรายละเอียดต่างๆ (NetBIOS Remote Machine Name Table) > Demo

telnet 192.168.0.12 [enter] ทำการ remote ไปยังเครื่อง Linux Server ที่เปิดบริการ Telnet

route print [enter] ดูตาราง Routing table > Demo

tracert www.redhat.com [enter] แกะรอยแส้นทางเครือข่ายโดยใช้ domain name > Demo
tracert 203.107.139.192 [enter] แกะรอยแส้นทางเครือข่ายโดยใช้ ip address

ftp ftp.redhat.com [enter] ใช้บริการ file transfer protocol


ตรวจสอบ Name Server
nslookup www.nortbkk.ac.th [enter] สอบถามชื่อโฮสต์และไอพี
nslookup [enter]
> www.northbkk.ac.th
> mail.northbkk.ac.th
> proxy.northbkk.ac.th
> set type=ns ตรวจสอบ Name Server  
> northbkk.ac.th
> set type=mx ตรวจสอบ Mail Exchange    
> northbkk.ac.th
> exit

การตรวจสอบรายละเอียดเครื่องเซิร์ฟเวอร์
hostname > ตรวจสอบ host name > Demo
net config server > ตรวจสอบการคอนฟิกเซิร์ฟเวอร์ เช่น ชื่อเครื่อง, OS ที่ใช้ > Demo
net config workstation > ตรวจสอบการคอนฟิกเซิร์ฟเวอร์ เช่น ชื่อเครื่อง, OS ที่ใช้ > Demo
net statistics server > ดูสถิติเซิร์ฟเวอร์ > Demo
net statistics workstation > ดูสถิติไคลเอนต์ > Demo

การเปลี่ยนรายละเอียด Computer Description ทาง Command
รูปแบบnet config server  /srvcommant: "รายละเอียดที่ต้องการ"
เช่น 

net config server  /srvcommant: "Arnut Ruttanatirakul"
การตรวจสอบ- ไปคลิกขวาที่ My Computer > Properties > คลิกแท็บ Computer name > ดูผลการเปลี่ยนแปลงที่ Computer Description
Windows Utility - คำสั่งในการจัดการด้านฮาร์ดแวร์
taskmgr > เรียกใช้งาน Task Manager
msconfig > เรียกใช้งาน System Configuration Utility
sysedit > เรียกใช้งาน System Configuration Editor
inetmgr
 > เรียกใช้งาน Internet Information Services (กรณีมีบริการติดอยู่ก่อนหน้าแล้ว)
regedit > เรียกใช้งาน Registry Editor
services.msc 
   > เรียกใช้งานหน้าต่าง Services ของระบบ Windows
gpedit.msc > เรียกใช้งาน Group Policy
mmc > เรียกใช้งาน Microsoft Management Console 
perfmon > เรียกใช้งาน Performace
net start > ตรวจสอบเซอร์วิสที่รันอยู่ > Demo 

Windows Components - โปรแกรมที่ติดมาพร้อมวินโดส์ว
notepad > เรียกใช้งาน Notepad
calc > เรียกใช้งาน Calculator
winchat > เรียกใช้งาน Winchat
winmine > เรียกใช้งานเกมส์ Winmine


คำสั่งอื่นๆ ที่ควรรู้จัก
path > ตรวจสอบพาท
ver > ตรวจสอบเวอร์ชั่นของ windows
set > ตรวจสอบค่าของระบบที่ใช้งานอยู่


คำสั่งสำหรับตรวจสอบพาทระบบ
สามารถเข้าตรวจสอบได้ผ่านทาง DOS Prompt
- Start > Run > cmd > OK
echo %OS%  > ตรวจสอบชื่อ OS
echo %PATH% > ตรวจสอบพาทระบบที่ใช้งานอยู่
echo %PATHEXT% > ตรวจสอบนามสกุลไฟล์ประเภท Exceute
echo %Temp%  > ห้องเก็บ Temp ไฟล์
echo %Number_of_Processors%  > จำนวน CPU ที่ใช้งานอยู่
echo %WinDir%  > ห้องเก็บระบบปฏิบัติการ
echo %Processor_Architecture%  > ตรวจาสอบสถาปัตยกรรม CPU
echo %SystemRoot% > ตรวจสอบระบบปฏิบัติการ

Bonus

การตั้งเวลาให้เครื่องลูกข่ายทุกเครื่องใช้เวลาเดียวกันกับเครื่องเซิร์ฟเวอร์
net time \\server_name /set /yes

การเปลี่ยนสีของ Command Line
รูปแบบ
color [background][foreground]
เข่น
color 2A [enter]
color /?   ค่าสีต่างๆ 

0 = Black
8 = Gray
1 = Blue
9 = Light Blue
2 = Green
A = Light Green
3 = Aqua
B = Light Aqua
4 = Red
C = Light Red
5 = Purple
D = Light Purple
6 = Yellow
E = Light Yellow
7 = White
F = Bright White

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น